ให้ Feedback การทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วย “C-O-I-N” Model

Feedback การทำงาน
จะทำอย่างไรเมื่อต้องให้ Feedback การทำงานกับ เพื่อนร่วมทีม หัวหน้า หรือลูกน้อง มาลองดูกันว่ามี Model อะไรที่สามารถช่วยให้การให้ Feedback มีประสิทธิภาพ และใช้งานได้จริงมากยิ่งขึ้น

📍“C-O-I-N” Model โมเดลให้ Feedback การทำงานที่ผ่านมา

หากเราต้องการให้ Feedback การทำงานของเพื่อนร่วมทีม สามารถใช้แนวทางของ C-O-I-N Model จาก Anna Carroll ได้ เป็นแนวทางง่าย ๆ ที่ทำให้การให้ Feedback มีแบบแผนและเข้าใจง่ายได้ใจความมายิ่งขึ้น

✅C = Context

เป็นการระบุช่วงเวลาของการกระทำที่เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกเชื่อมโยงและเข้าใจสถานการณ์เบื้องต้น

✅O = Observation 

ระบุว่าการกระทำนั้นถูกจับตามอง และถูกออกความคิดเห็นมา เพื่อทำให้เจ้าตัวรู้ตัวว่าการ Feedback ครั้งนี้ มีที่มาและที่ไปอย่างไร

✅ I = Impact

อธิบายผลของการกระทำที่เกิดขึ้นอย่างละเอียด เพื่อทำให้ผู้ฟังเข้าใจสถานการณ์อย่างชัดเจน และรับรู้ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจากการกระทำ

✅ N = Next Steps

ปิดท้ายการ Feedback ด้วยการให้คำแนะนำหรือบอกวิธีการแก้ไขและพัฒนาให้การกระทำนี้ดีขึ้นในอนาคต

อ้างอิง: https://www.linkedin.com/posts/ronniekinseymba_as-a-fortune-100-company-leader-i-learned-activity-7167145308336930816-PgyW?utm_source=share&utm_medium=member_ios

Author

  • CareerVisa Team

    รวบรวมและแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อการพัฒนานอกกรอบของคนทำงาน

Related   Articles

ใครๆ ก็ไม่รักผม…อยากเป็นคนน่าสนใจมากขึ้น ควรทำอย่างไร?

เคยสงสัยหรือไม่ว่าเราเป็นคนที่น่าสนใจหรือเปล่า? ถ้าคิดว่าตอนนี้เราไม่ได้เป็นที่น่าสนใจ ก็อย่าเพิ่งกังวลไป เพราะว่าความน่าสนใจมันสามารถสร้างได้เพียงแค่เสริมหรือปรับพฤติกรรมแค่บางอย่างเท่านั้น มาลองดูกันว่ามีอะไรบ้าง

Constructive Feedback

Constructive Feedback ฟีดแบคยังไงให้ลูกทีมรัก ?

Constructive Feedback คือการให้ข้อเสนอแนะที่สร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ โดยเน้นการปรับปรุงและพัฒนา แทนที่จะเป็นการวิจารณ์เชิงลบ โดยควรชี้จุดที่ต้องปรับปรุงพร้อมแนวทางแก้ไข เพื่อช่วยให้ผู้รับข้อเสนอแนะพัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Confirmation Bias

Confirmation Bias : มองหาแต่สิ่งที่ยืนยันความเชื่ออันฝังรากลึกของตัวเอง!

Confirmation Bias คือแนวโน้มที่คนจะหาข้อมูลหรือเชื่อเฉพาะสิ่งที่สอดคล้องกับความเชื่อหรือความคิดเห็นที่มีอยู่แล้ว และมองข้ามหรือปฏิเสธข้อมูลที่ขัดแย้งกับความเชื่อนั้น ส่งผลให้การตัดสินใจไม่เป็นกลาง